DETAILED NOTES ON ชาเขียว

Detailed Notes on ชาเขียว

Detailed Notes on ชาเขียว

Blog Article

สรรพคุณของชาเขียว เช่น บรรเทาอาการปวดศีรษะ ภาวะซึมเศร้า แก้หวัด แก้ร้อนใน แก้อาการเมาค้าง ต้านการอักเสบ ป้องกันตับเป็นพิษ หรือเพิ่มจำนวนแบคทีเรียชนิดดีในลำไส้

ชาเขียวมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ต้นเชื้อจุลินทรีย์ในร่างกาย

“โรคภูมิแพ้อากาศ” รู้สาเหตุ-อาการ รักษาถูกวิธี อาการดีขึ้นชัวร์

ชาเขียวหากนำมาเตรียมเป็นเครื่องดื่มแช่เย็น ความเย็นจะช่วยรักษาคุณค่าของสารสำคัญในชาเขียวได้ (แบบชงเอง) แต่อย่างไรก็ตามหากเป็นเครื่องดื่มชาเขียวสำเร็จรูป ขบวนการผลิตก็ต้องผ่านการต้มหรือทำให้ร้อน และต้องผ่านขบวนการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ก่อนนำมาบรรจุลงในขวด จึงทำให้ปริมาณของสารสำคัญถูกทำลายไปด้วย

ผลิตภัณฑ์ความงามผิวขาวหน้าใสหุ่นดี

” และชาเขียวยังมีประโยชน์อย่างมากสำหรับผู้อยู่ในภาวะเครียดจากการทำงานสูง และผู้ที่อยู่ในโปรแกรมการกำจัดไขมันหรือลดน้ำหนักดังจะได้กล่าวในข้อถัดไป

ถ้าปกติคุณเป็นคนชอบดื่มชาหวานหรือชาแต่งรสต่างๆ รสชาติของชาเขียว "แท้ๆ" อาจจะน่าขนลุกไปบ้างในตอนแรก แต่เราขอแนะนำให้ลองดื่มดูสักสองสามถ้วยก่อนด่วนตัดสินใจว่าชอบหรือไม่ชอบ

ชาเขียวมีกาเฟอีนต่อถ้วยน้อยกว่ากว่ากาแฟประมาณ ๒-๓ เท่าตัวซึ่งคงจะเคยทราบกันมาบ้างที่แพทย์ ส่วนใหญ่แนะนำว่าหากดื่มกาแฟวันละไม่เกิน ๒๐๐ มิลลิกรัม จะไม่มีผล เสีย ตรงข้ามกลับจะทำให้ร่างกายตื่นตัว ตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้เร็วขึ้นและในชาเขียว ๕ ออนซ์ ก็มีปริมาณกาเฟอีนอยู่ ๑๕ มิลลิกรัมเท่านั้นเอง

ตั้งครรภ์หรืออยู่ในช่วงให้นมบุตร เนื่องจากในขณะให้นมบุตรนั้น ควรใช้ยาตามคำแนะนำของแพทย์เท่านั้น

เพิ่มปริมาณแคลเซียมที่ถูกขับออกมาทางปัสสาวะ ทำให้เสี่ยงต่อภาวะขาดแคลเซียม และอาจเสี่ยงต่อภาวะกระดูกบาง เปราะ แตกหักได้ง่าย โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคกระดูกพรุน การบริโภคสารสกัดชาเขียวอาจทำให้เกิดความเสียหายแก่ตับ หรือทำให้ผู้ป่วยโรคตับมีอาการแย่ลง

การดื่มน้ำชา ไม่ควรแต่งรสด้วยนมทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นนมสด นมข้น หรือนมผง เพราะโปรตีนจากนมจะไปจับกับสารสำคัญในชา และไปทำลายประสิทธิภาพของสารออกฤทธิ์ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ซึ่งวิธีการดื่มชาเขียวที่ดีที่สุดก็คือการดื่มแต่น้ำชาล้วน ๆ ไม่ต้องปรุงแต่งอะไรเพิ่มเติม

Your browser isn’t supported any more. Update it to find the best YouTube experience and our latest attributes. ชาเขียว Learn more

ศูนย์วิทยบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข. “ชาเขียว…น้ำทิพย์แห่งชีวิต”.

ไทยรัฐออนไลน์. (ภก.ขวัญชัย นันทะโย). “ไขข้อข้องใจ!

Report this page